เมนูหลัก (Main)
camera_alt ภาพกิจกรรม/ภาพประชาสัมพันธ์โครงสร้างส่วนราชการ
group คณะผู้บริหารเมนูหลัก (Main)
camera_alt ภาพกิจกรรม/ภาพประชาสัมพันธ์ volume_down ข่าวประชาสัมพันธ์ folder ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง cast ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง egp thumb_up facebook-line play_arrow วิดีโอกิจกรรมหน่วยงาน language หนังสือราชการกรมโครงสร้างส่วนราชการ
group คณะผู้บริหาร group สมาชิกสภาเทศบาล group หัวหน้าส่วนราชการ group สำนักปลัด group กองคลัง group กองช่าง group กองการศึกษา group กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
|
เทศบาลตำบล ชำราก อ.เมือง จ.ตราด |
คำขวัญตำบลชำราก
คำขวัญตำบลชำราก
รางวัลและเกียรติยศ
นโยบายการบริหาร
1. นโยบายด้านการบริการสาธารณะ
- ก่อสร้างและพัฒนาก่อสร้างเส้นทางคมนาคม
- ก่อสร้างและปรับปรุงระบบการระบายและกักเก็บน้ำ
- พัฒนาการให้บริการด้านแสงสว่าง ไฟฟ้าสาธารณะ
- พัฒนาปรัฤบปรุงระบบเสียงตามสายให้ได้มาตรฐาน
- จัดระบบจราจร สัญญาณไฟ ฯลฯ เพื่อความสะดวก ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- จัดสร้างและสนับสนุนส่งเสริมระบบน้ำประปาให้ได้มาตรฐาน
2. นโยบายด้านเศรษฐกิจ
- ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมกลุ่มอาชีพกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเกษตรกร กองทุนต่างๆ
- ส่งเสริมสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
- ส่งเสริมการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง
- ส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มในการจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรเพื่อสร้างรายได้ให้กับท้องถิ่น
- ฝึกอบรมวิชาชีพให้แก่ราษฎรเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
3. นโยบายด้านการศึกษาและการกีฬา
- พัฒนาการศึกษาระดับปฐมวัย
- ส่งเสริมและพัฒนาจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ
- สนับสนุนงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานให้กับโรงเรียนประถมและมัธยมในพื้นที่
- ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน ฯลฯ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
- จัดให้มีการรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนและประชาชนรักการกีฬา
4. ด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
- ส่งเสริมสนับสนุนประเพณีต่างๆอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี
- สนับสนุนให้วัดในเขตเทศบาลตำบลชำรากเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมประเพณีท้องถิ่นและกิจกรรมทางพุทธศาสนา
5. นโยบายด้านคุณภาพชีวิต สังคมและชุมชน
- มุ่งเน้นการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีสุขภาพที่ดีและสานต่อเรื่องการดูแลผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม
- จัดให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์ ได้รับเบี้ยยังชีพตามหลักเกณฑ์และนโยบายรัฐบาล
- จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
- สนับสนุนกิจกรรมของ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
- สนับสนุนงบประมาณให้แก่ชุมชนในเขตเทศบาล เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพในรูปของคณะกรรมการชุมชน
6. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรชุมชนในการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ
- ส่งเสริมป้องกันและวางระบบป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษด้านต่างๆ
- สนับสนุนให้ความสำคัญการพัฒนาเทศบาลชำรากให้เป็นหมู่บ้านและชุมชนน่ามอง
- จัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการและดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะทั่วทั้งตำบล
7. นโยบายด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
- สร้างแหล่งอาชีพและรายได้ให้กับประชาชน ขยายโอกาส ด้านอาชีพให้แก่คนในชุมชน
- ปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดเก็บภาษีให้ทั่วถึง
- ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพและกลุ่มอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
- ส่งเสริมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น
- บริหารจัดงบประมาณเพื่อการลงทุนและการท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม
- จัดทำทะเบียนประวัติทางโบราณสถานโบราณวัตถุ ตลอดจนบุคคลสำคัญ
- พัฒนาตำบลชำรากเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวสามชาย คือ ชายแดน ชายเขา ชายเลน
8. นโยบายด้านการสาธารณสุขและอนามัย
- ส่งเสริมสุขภาพอนามัยรวมทั้งการป้องกันและควบคุมโรคให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
- ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อดูแลสุขภาพและการออกกำลังกาย
- สนับสนุนกิจกรรมคุ้มครองและสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดี
- ส่งเสริมและและสนับสนุน อสม.
- ส่งเสริมและพัฒนาระบบการให้บริการด้านสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน
9. นโยบายด้านการเมืองการบริหาร
- บริหารงานโดยใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมสร้างจิตสำนึกให้พนักงาน ลูกจ้างตระหนักถึงการให้บริการการอำนวยความสะดวกให้ผู้รับบริการพึงพอใจ
- ส่งเสริมประชาธิปไตยและความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
- ปรับปรุงระบบและลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความรวดเร็ว
- นำเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้พัฒนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะเพิ่มขึ้น
- มุ่งเน้นการบริหารงานตามหลักการ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล
- ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรของเทศบาลให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ
- บูรณาการและร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในการป้องกันและปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติดประเภทต่างๆ
รางวัลและเกียรติยศ
นโยบายการบริหาร
1. นโยบายด้านการบริการสาธารณะ
- ก่อสร้างและพัฒนาก่อสร้างเส้นทางคมนาคม
- ก่อสร้างและปรับปรุงระบบการระบายและกักเก็บน้ำ
- พัฒนาการให้บริการด้านแสงสว่าง ไฟฟ้าสาธารณะ
- พัฒนาปรัฤบปรุงระบบเสียงตามสายให้ได้มาตรฐาน
- จัดระบบจราจร สัญญาณไฟ ฯลฯ เพื่อความสะดวก ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
- จัดสร้างและสนับสนุนส่งเสริมระบบน้ำประปาให้ได้มาตรฐาน
2. นโยบายด้านเศรษฐกิจ
- ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมกลุ่มอาชีพกลุ่มแม่บ้าน กลุ่มเกษตรกร กองทุนต่างๆ
- ส่งเสริมสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)
- ส่งเสริมการประกอบอาชีพตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง
- ส่งเสริมสนับสนุนการรวมกลุ่มในการจำหน่ายสินค้าทางการเกษตรเพื่อสร้างรายได้ให้กับท้องถิ่น
- ฝึกอบรมวิชาชีพให้แก่ราษฎรเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
3. นโยบายด้านการศึกษาและการกีฬา
- พัฒนาการศึกษาระดับปฐมวัย
- ส่งเสริมและพัฒนาจัดตั้งศูนย์เรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ
- สนับสนุนงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานให้กับโรงเรียนประถมและมัธยมในพื้นที่
- ส่งเสริมสนับสนุนให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน ฯลฯ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
- จัดให้มีการรณรงค์และเผยแพร่ความรู้ เพื่อสร้างจิตสำนึกให้เด็กและเยาวชนและประชาชนรักการกีฬา
4. ด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณี
- ส่งเสริมสนับสนุนประเพณีต่างๆอนุรักษ์สืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี
- สนับสนุนให้วัดในเขตเทศบาลตำบลชำรากเป็นศูนย์กลางในการส่งเสริมประเพณีท้องถิ่นและกิจกรรมทางพุทธศาสนา
5. นโยบายด้านคุณภาพชีวิต สังคมและชุมชน
- มุ่งเน้นการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีสุขภาพที่ดีและสานต่อเรื่องการดูแลผู้สูงอายุผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์และผู้ด้อยโอกาสทางสังคม
- จัดให้ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ติดเชื้อเอดส์ ได้รับเบี้ยยังชีพตามหลักเกณฑ์และนโยบายรัฐบาล
- จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
- สนับสนุนกิจกรรมของ อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (อปพร.)
- สนับสนุนงบประมาณให้แก่ชุมชนในเขตเทศบาล เพื่อสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและศักยภาพในรูปของคณะกรรมการชุมชน
6. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ส่งเสริมและสนับสนุนองค์กรชุมชนในการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- ส่งเสริมการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ
- ส่งเสริมป้องกันและวางระบบป้องกันแก้ไขปัญหามลพิษด้านต่างๆ
- สนับสนุนให้ความสำคัญการพัฒนาเทศบาลชำรากให้เป็นหมู่บ้านและชุมชนน่ามอง
- จัดทำระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการและดูแลรักษาพื้นที่สาธารณะทั่วทั้งตำบล
7. นโยบายด้านเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
- สร้างแหล่งอาชีพและรายได้ให้กับประชาชน ขยายโอกาส ด้านอาชีพให้แก่คนในชุมชน
- ปรับปรุงและพัฒนาระบบการจัดเก็บภาษีให้ทั่วถึง
- ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพและกลุ่มอาชีพให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
- ส่งเสริมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วิถีชีวิต วัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น
- บริหารจัดงบประมาณเพื่อการลงทุนและการท่องเที่ยวอย่างเหมาะสม
- จัดทำทะเบียนประวัติทางโบราณสถานโบราณวัตถุ ตลอดจนบุคคลสำคัญ
- พัฒนาตำบลชำรากเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวสามชาย คือ ชายแดน ชายเขา ชายเลน
8. นโยบายด้านการสาธารณสุขและอนามัย
- ส่งเสริมสุขภาพอนามัยรวมทั้งการป้องกันและควบคุมโรคให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
- ส่งเสริมกิจกรรมเพื่อดูแลสุขภาพและการออกกำลังกาย
- สนับสนุนกิจกรรมคุ้มครองและสร้างเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพดี
- ส่งเสริมและและสนับสนุน อสม.
- ส่งเสริมและพัฒนาระบบการให้บริการด้านสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน
9. นโยบายด้านการเมืองการบริหาร
- บริหารงานโดยใช้หลักคุณธรรม จริยธรรมสร้างจิตสำนึกให้พนักงาน ลูกจ้างตระหนักถึงการให้บริการการอำนวยความสะดวกให้ผู้รับบริการพึงพอใจ
- ส่งเสริมประชาธิปไตยและความเสมอภาคและสิทธิเสรีภาพของประชาชน
- ปรับปรุงระบบและลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความรวดเร็ว
- นำเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่มาใช้พัฒนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ส่งเสริมบุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะเพิ่มขึ้น
- มุ่งเน้นการบริหารงานตามหลักการ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีหรือหลักธรรมาภิบาล
- ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรของเทศบาลให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ
- บูรณาการและร่วมกับหน่วยงานภาครัฐในการป้องกันและปราบปรามและแก้ไขปัญหายาเสพติดประเภทต่างๆ
สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
ตำบลชำรากตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองตราดไปตามถนนสายตราด–คลองใหญ่เป็นระยะทาง 23 กิโลเมตร
1.2 อาณาเขต
เทศบาลตำบลชำรากมีเนื้อที่ 75.01 ตารางกิโลเมตรหรือ 46,882.52 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลตะกาง อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด
ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลแหลมกลัด อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด
ทิศตะวันออก ติดต่อกับสันเขาบรรทัด แบ่งเขตแดนระหว่างประเทศไทย - กัมพูชา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลในอ่าวไทย
1.3 สภาพภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบชายเขาเลียบฝั่งทะเล แบ่งออกเป็นพื้นที่เกษตรกรรม 16,250 ไร่ พื้นที่ป่าไม้ (ป่าสงวน) 24,375 ไร่ ตำบลชำรากมีพื้นที่ป่าไม้ที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ทั้งป่าบกและป่าชายเลน โดยป่าบกคือป่าในพื้นที่ชายเขาบรรทัดที่ยังมีความสมบูรณ์อยู่มากเนื่องจากไม่มีการบุกรุกมากนัก ส่วนป่าชายเลนมีความสมบูรณ์น้อยกว่า เนื่องจากถูกบุกรุกทำลายเป็นบางส่วน สภาพดินมีปัญหา คือ พื้นดินเค็ม คุณภาพดินเสื่อมโทรม หน้าดินถูกชะล้าง
1.4 เขตการปกครอง
เทศบาลตำบลชำราก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 เขต ประกอบด้วย
เขตที่ 1 ประกอบด้วยหมู่ที่ 4, 5 และหมู่ที่ 1 บางส่วน
นายกฤษณะ ไชยเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เบอร์โทรศัพท์ 086-8375853
นายภิญโญ ดีหลาย เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 เบอร์โทรศัพท์ 086-1486972
นายนิวัฒน์ หนูจักร เป็นกำนันตำบลชำราก เบอรโทรศัพท์ 084-7077491
นายพิชิต บุญชู เป็นประธานสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 086-0100518
นายอนนต์ ไวยกูล เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-0003601
นายบรรเทิง มุสิกรัตน์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-9280542
นายพิภพ อุตมัง เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-2522050
นายนุชล ติ่งเกษม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-5452665
นางถนอมจิตร์ ยุบลพันธุ์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 080-6399516
เขตที่ 2 ประกอบด้วย หมู่ที่ 2, 3 และหมู่ที่ 1 บางส่วน
นายกฤษณะ ไชยเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เบอร์โทรศัพท์ 086-8375853
นายนิวัฒน์ หนูจักร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 เบอรโทรศัพท์ 084-7077491
นางณพัชรา รัตนวาร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 เบอร์โทรศัพท์ 080-0925899
นายสุพจน์ พ่วงกระสินธุ์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-8618272
นายอาจหาญ บุญล้อม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-9968024
นายเกรียงศักดิ์ เรืองขณะ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-0543210
นางวดีภัทร ศรีปราชญ์ เป็นรองประธานสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-2562559
นายสกนธ์ รัตนเศียร เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-8614940
นายสมศักดิ์ อนันต์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-5450807
ข้อมูลประชากร
มีประชำกรทั้งสิ้น 2,575 คน แยกเป็นชาย 1,265 คน หญิง 1,310 คน แยกตำมหมู่บ้ำนได้ดังนี้ (ข้อมูล ณ กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2556)
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนครัวเรือน |
จำนวนประชากร |
รวม จำนวนประชากร |
|
ชาย |
หญิง |
||||
1 |
หินดาษ |
197 |
207 |
226 |
433 |
2 |
นาเกลือ |
215 |
296 |
312 |
608 |
3 |
หนองรี |
181 |
231 |
227 |
458 |
4 |
ชำราก |
254 |
250 |
261 |
511 |
5 |
หนองยาง |
206 |
281 |
284 |
511 |
รวม |
1,053 |
1,260 |
1,306 |
2,575 |
ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลชำราก จังหวัดตราด
ความหมายของตราประจำเทศบาล
ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลชำราก
ตำบลชำราก จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 65.00 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน ได้รับจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลชำราก เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และได้รับการจัดตั้งจากองค์การบริหารส่วนตำบลชำราก เป็นเทศบาลตำบลชำราก พ.ศ. 2551 ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 และมีผลบังคับ วันที่ 1 สิงหาคม 2551
ตราสัญลักษณ์และความหมาย
เป็นรูปวงกลมสองวงซ้อนกันขนาดตามที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด ภายในวงกลม เป็นรูปเจดีย์ หมายถึง เจดีย์วัดคีรีวิหารภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นที่เคารพของชาวตำบลชำราก และประชาชนทั่วไป สภากาชาดไทยได้ทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสพระชนมายุครบ 44 พรรษา เป็นองค์ประธานในการบรรจุ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2539 จึงได้กำหนดดวงตราไว้เป็นอนุสรณ์แก่ชนรุ่นหลังสืบไป
สภาพทั่วไป
1.1 ที่ตั้ง
ตำบลชำรากตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองตราดไปตามถนนสายตราด–คลองใหญ่เป็นระยะทาง 23 กิโลเมตร
1.2 อาณาเขต
เทศบาลตำบลชำรากมีเนื้อที่ 75.01 ตารางกิโลเมตรหรือ 46,882.52 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลตะกาง อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด
ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลแหลมกลัด อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด
ทิศตะวันออก ติดต่อกับสันเขาบรรทัด แบ่งเขตแดนระหว่างประเทศไทย - กัมพูชา
ทิศตะวันตก ติดต่อกับทะเลในอ่าวไทย
1.3 สภาพภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มและที่ราบชายเขาเลียบฝั่งทะเล แบ่งออกเป็นพื้นที่เกษตรกรรม 16,250 ไร่ พื้นที่ป่าไม้ (ป่าสงวน) 24,375 ไร่ ตำบลชำรากมีพื้นที่ป่าไม้ที่ค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ทั้งป่าบกและป่าชายเลน โดยป่าบกคือป่าในพื้นที่ชายเขาบรรทัดที่ยังมีความสมบูรณ์อยู่มากเนื่องจากไม่มีการบุกรุกมากนัก ส่วนป่าชายเลนมีความสมบูรณ์น้อยกว่า เนื่องจากถูกบุกรุกทำลายเป็นบางส่วน สภาพดินมีปัญหา คือ พื้นดินเค็ม คุณภาพดินเสื่อมโทรม หน้าดินถูกชะล้าง
1.4 เขตการปกครอง
เทศบาลตำบลชำราก แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 2 เขต ประกอบด้วย
เขตที่ 1 ประกอบด้วยหมู่ที่ 4, 5 และหมู่ที่ 1 บางส่วน
นายกฤษณะ ไชยเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เบอร์โทรศัพท์ 086-8375853
นายภิญโญ ดีหลาย เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 5 เบอร์โทรศัพท์ 086-1486972
นายนิวัฒน์ หนูจักร เป็นกำนันตำบลชำราก เบอรโทรศัพท์ 084-7077491
นายพิชิต บุญชู เป็นประธานสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 086-0100518
นายอนนต์ ไวยกูล เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-0003601
นายบรรเทิง มุสิกรัตน์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-9280542
นายพิภพ อุตมัง เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-2522050
นายนุชล ติ่งเกษม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-5452665
นางถนอมจิตร์ ยุบลพันธุ์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 080-6399516
เขตที่ 2 ประกอบด้วย หมู่ที่ 2, 3 และหมู่ที่ 1 บางส่วน
นายกฤษณะ ไชยเพชร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เบอร์โทรศัพท์ 086-8375853
นายนิวัฒน์ หนูจักร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 เบอรโทรศัพท์ 084-7077491
นางณพัชรา รัตนวาร เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 เบอร์โทรศัพท์ 080-0925899
นายสุพจน์ พ่วงกระสินธุ์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-8618272
นายอาจหาญ บุญล้อม เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-9968024
นายเกรียงศักดิ์ เรืองขณะ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-0543210
นางวดีภัทร ศรีปราชญ์ เป็นรองประธานสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-2562559
นายสกนธ์ รัตนเศียร เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 081-8614940
นายสมศักดิ์ อนันต์ เป็นสมาชิกสภาเทศบาล เบอรโทรศัพท์ 089-5450807
ข้อมูลประชากร
มีประชำกรทั้งสิ้น 2,575 คน แยกเป็นชาย 1,265 คน หญิง 1,310 คน แยกตำมหมู่บ้ำนได้ดังนี้ (ข้อมูล ณ กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2556)
หมู่ที่ |
ชื่อหมู่บ้าน |
จำนวนครัวเรือน |
จำนวนประชากร |
รวม จำนวนประชากร |
|
ชาย |
หญิง |
||||
1 |
หินดาษ |
197 |
207 |
226 |
433 |
2 |
นาเกลือ |
215 |
296 |
312 |
608 |
3 |
หนองรี |
181 |
231 |
227 |
458 |
4 |
ชำราก |
254 |
250 |
261 |
511 |
5 |
หนองยาง |
206 |
281 |
284 |
511 |
รวม |
1,053 |
1,260 |
1,306 |
2,575 |
ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลชำราก จังหวัดตราด
ความหมายของตราประจำเทศบาล
ประวัติความเป็นมาของเทศบาลตำบลชำราก
ตำบลชำราก จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2468 มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 65.00 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วย 5 หมู่บ้าน ได้รับจัดตั้งเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลชำราก เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540 และได้รับการจัดตั้งจากองค์การบริหารส่วนตำบลชำราก เป็นเทศบาลตำบลชำราก พ.ศ. 2551 ประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 10 มีนาคม 2551 และมีผลบังคับ วันที่ 1 สิงหาคม 2551
ตราสัญลักษณ์และความหมาย
เป็นรูปวงกลมสองวงซ้อนกันขนาดตามที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด ภายในวงกลม เป็นรูปเจดีย์ หมายถึง เจดีย์วัดคีรีวิหารภายในบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นที่เคารพของชาวตำบลชำราก และประชาชนทั่วไป สภากาชาดไทยได้ทูลเชิญสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมา คุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี ในวโรกาสพระชนมายุครบ 44 พรรษา เป็นองค์ประธานในการบรรจุ เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2539 จึงได้กำหนดดวงตราไว้เป็นอนุสรณ์แก่ชนรุ่นหลังสืบไป
เทศบาลตำบลชำราก
ที่อยู่ 126 หมู่ที่ 4 ตำบลชำราก อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด 23000
เบอร์โทร. 039-510931 โทรสาร. 039-510932
E-mail:chamraktrat@gmail.com
เว็บไซต์หน่วยงาน : https://www.chamraktrat.go.th/
เทศบาลตำบลชำราก
ที่อยู่ 126 หมู่ที่ 4 ตำบลชำราก อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด 23000
เบอร์โทร. 039-510931 โทรสาร. 039-510932
E-mail:chamraktrat@gmail.com
เว็บไซต์หน่วยงาน : https://www.chamraktrat.go.th/